PSF License หรือชื่อเต็มคือ Python Software Foundation License เป็น License ที่ถูกใช้งานใน Python 2.1 เป็นต้นมาจนถึง Python เวชั่นล่าสุด โดยมีจุดเด่น คือ มีรูปแบบคล้ายกับ BSD (BSD-style) และเข้ากันได้กับ GNU General Public License (GPL) นอกจากนั้นยังได้รับการยอมรับจาก Free Software Foundation เป็น Open-source license
Read More
21 กุมภาพันธ์ 2559
Published กุมภาพันธ์ 21, 2559 by wannaphong with 0 comment
สวัสดีผู้อ่านทุกท่านครับ สำหรับผู้อ่านที่ใช้ Python บน CPU Intel หากไม่รู้ว่า ทาง Intel มีชุดแจกจ่าย Python ที่ชื่อว่า Intel Distribution for Python อยู่ครับ
Read More
Published กุมภาพันธ์ 21, 2559 by wannaphong with 0 comment
สวัสดีผู้อ่านทุกท่านครับ บทความนี้ผมจะพาผู้อ่านไปรันโค้ด Python ด้วย PHP กันครับ
Read More
Published กุมภาพันธ์ 21, 2559 by wannaphong with 0 comment
สำหรับท่านที่ยังใช้ Python 2.7 - 3.4 หากต้องการใช้ความสามารถ PEP 484: typing.py ที่เพิ่งมีใน Python 3.5 สามารถโหลดโมดูลมาติดตั้งเพิ่มเติมได้ครับ https://github.com/python/typing
Read More
Published กุมภาพันธ์ 21, 2559 by wannaphong with 0 comment
สวัสดีผู้อ่านทุกท่านครับ สำหรับท่านที่เคยใช้งานลินุกซ์อย่าง Debian และเคยใช้านโปรแกรมบน terminal มาบ้าง คงคุ้นเคยกับเมนูตอนติดตั้ง Debian บน terminal กันมาบ้าง

บทความนี้ผมจะพาผู้อ่านไปแนะนำให้รู้จักกับโมดูล curses-menu ซึ่งเป็นโมดูลสำหรับสร้างเมบน terminal ในภาษา Python กันครับ
Read More

บทความนี้ผมจะพาผู้อ่านไปแนะนำให้รู้จักกับโมดูล curses-menu ซึ่งเป็นโมดูลสำหรับสร้างเมบน terminal ในภาษา Python กันครับ
19 กุมภาพันธ์ 2559
Published กุมภาพันธ์ 19, 2559 by wannaphong with 0 comment
Patreon เป็นเว็บไซต์ระดมทุนแหล่งหนึ่งที่ระดมทุนสมาชิกเพื่อสร้างงานศิลปะในหมู่สมาชิกด้วยกัน
เมื่อเดือนมิถุนายนของปีที่แล้ว คุณ Albert Sheu ได้ออกมาพูดอัดคลิปผ่าน Talk Python To Me โดยเนื้อหาเกี่ยวกับการที่ Patreon เริ่มต้นเว็บไซต์ด้วยภาษา PHP ก่อนที่จะเปลี่ยนมาเป็นภาษา Python 3 เนื่องจากตอนแรกทาง Patreon เลือกใช้ภาษา PHP เพราะเป็นวิธีที่เร็วที่สุด ที่จะสร้างผลิตภัณฑ์ให้ออกมาในช่วงเริ่มต้นเว็บไซต์ แต่ต่อมา เมื่อ Patreon เติบโตมากขึ้นพร้อมกับทีมงานด้านวิศวกรรมที่เพิ่มขึ้นไปด้วยกัน แต่ภาษา PHP ไม่ได้ scale ไปพร้อมกับทีมงานที่เพิ่มขึ้น ทาง Patreon จึงย้ายโค้ดจากภาษา PHP มาเป็นภาษา Python 3 โดยเลือกใช้ Flask ซึ่งเป็น Web framework ที่ได้รับความนิยมอย่างสูงตัวหนึ่งในภาษา Python
ฟังรายละเอียดเพิ่มเติมได้จาก คลิปเสียง :
[youtube]FmasDdzP72c[/youtube]
Patreon: patreon.com
ติดตามบทความต่อไปนะครับ
ขอบคุณครับ
Read More
เมื่อเดือนมิถุนายนของปีที่แล้ว คุณ Albert Sheu ได้ออกมาพูดอัดคลิปผ่าน Talk Python To Me โดยเนื้อหาเกี่ยวกับการที่ Patreon เริ่มต้นเว็บไซต์ด้วยภาษา PHP ก่อนที่จะเปลี่ยนมาเป็นภาษา Python 3 เนื่องจากตอนแรกทาง Patreon เลือกใช้ภาษา PHP เพราะเป็นวิธีที่เร็วที่สุด ที่จะสร้างผลิตภัณฑ์ให้ออกมาในช่วงเริ่มต้นเว็บไซต์ แต่ต่อมา เมื่อ Patreon เติบโตมากขึ้นพร้อมกับทีมงานด้านวิศวกรรมที่เพิ่มขึ้นไปด้วยกัน แต่ภาษา PHP ไม่ได้ scale ไปพร้อมกับทีมงานที่เพิ่มขึ้น ทาง Patreon จึงย้ายโค้ดจากภาษา PHP มาเป็นภาษา Python 3 โดยเลือกใช้ Flask ซึ่งเป็น Web framework ที่ได้รับความนิยมอย่างสูงตัวหนึ่งในภาษา Python
ฟังรายละเอียดเพิ่มเติมได้จาก คลิปเสียง :
[youtube]FmasDdzP72c[/youtube]
Patreon: patreon.com
ติดตามบทความต่อไปนะครับ
ขอบคุณครับ
14 กุมภาพันธ์ 2559
Published กุมภาพันธ์ 14, 2559 by wannaphong with 0 comment
สวัสดีผู้อ่านทุกท่านครับ หลาย ๆ ท่านที่ใช้ภาษา Python มานาน ไม่ว่าจะใช้งานบน CPython , PyPy , Cython , Jython และอื่น ๆ เรามักจะได้ยินข่าวเปรียบเทียบประสิทธิภาพกัน เช่น PyPy เร็วกว่า CPython เป็นต้น ภาษา Python มีชุดทดสอบวัดประสิทธิภาพ Python จากชุดทดสอบกลางของ PSF หนึ่งในนั้นคือ Pystone
Read More
8 กุมภาพันธ์ 2559
Published กุมภาพันธ์ 08, 2559 by wannaphong with 0 comment
สวัสดีผู้อ่านทุกท่านครับ ยุคคอมพิวเตอร์ยุคหน้าที่ใกล้เข้ามาถึงทุกที ความฝันหนึ่งของมนุษย์ คือ การควบคุมเครื่องใช้ไฟฟ้าต่าง ๆ ในบ้านได้จากระยะไกล ตัวอย่างเช่น การสั่งเปิดหลอดไฟโดยไม่ต้องสวิตช์ การควบคุมเครื่องเล่นเกม ทีวี โดยใช้แค่มือถือเครื่องเดียวควบคุมได้ทั้งบ้าน ยุคนี้คือยุค IoT
บทความนี้ผมจะพาผู้อ่านไปทำความรู้จักกับโมดูล homeassistant ซึ่งเป็นโมดูล home automation platform ใน Python 3 กันครับ
Read More
บทความนี้ผมจะพาผู้อ่านไปทำความรู้จักกับโมดูล homeassistant ซึ่งเป็นโมดูล home automation platform ใน Python 3 กันครับ
Published กุมภาพันธ์ 08, 2559 by wannaphong with 0 comment
เมื่อปลายเดือนที่ผ่านมา ทางไมโครซอฟท์ได้เปิดตัวโครงการ Pyjion บน GitHub ซึ่งเป็นโครงการที่ช่วยเพิ่มความเร็วให้กับภาษา Python โดยใช้เทคโนโลยี JIT จาก CoreCLR (.NET Core Runtime) โดยรักษาความเข้ากันได้กับ CPython และเข้ากันได้กับ CPython extension modules และใช้ MIT License (MIT)
ปัจจุบันนี้ยังรองรับเฉพาะ Windows เข้าไปอ่านรายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่ https://github.com/Microsoft/Pyjion (ต้อง Build เองทั้งหมด)
ที่มา : reddit.com
Read More
ปัจจุบันนี้ยังรองรับเฉพาะ Windows เข้าไปอ่านรายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่ https://github.com/Microsoft/Pyjion (ต้อง Build เองทั้งหมด)
ที่มา : reddit.com
6 กุมภาพันธ์ 2559
Published กุมภาพันธ์ 06, 2559 by wannaphong with 0 comment
สวัสดี (สะบายดี) ผู้อ่านทุกท่านครับ บทความนี้ผมจะพาผู้อ่านไปทำโปรแกรมแปลภาษาอังกฤษให้เป็นภาษาลาวด้วยภาษา Python กันครับ
Read More
Published กุมภาพันธ์ 06, 2559 by wannaphong with 0 comment
สวัสดีผู้อ่านทุกท่านครับ บทความนี้ผมจะพาผู้อ่านไปรู้จักกับโมดูล easygui ซึ่งเป็นโมดูลช่วยสร้าง GUI ด้วย tkinter ในภาษา Python ครับ
Read More
3 กุมภาพันธ์ 2559
Published กุมภาพันธ์ 03, 2559 by wannaphong with 0 comment

สวัสดีผู้อ่านทุกท่านครับ บทความนี้ผมเขียนถึงค่า infinity ในภาษาไพทอน Python ครับ
Published กุมภาพันธ์ 03, 2559 by wannaphong with 0 comment
สวัสดีผู้อ่านทุกท่านครับ บทความเป็นเรื่องเกี่ยวกับค่า NaN ในภาษาไพทอน Python ครับ
ค่า NaN คือ ค่าอะไร ?
จากโจทย์ทางคณิตศาสตร์
ตัวอย่างเช่น 1/0 ทางหลักคณิตศาสตร์ไม่มีนิยาม (อ่านรายละเอียดได้จาก - วิกิพีเดีย https://en.wikipedia.org/wiki/Division_by_zero) แต่ในทางการเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์มีการกำหนดให้ค่านั้นเป็นค่า NaN ตามมาตรฐาน IEEE 754 (https://en.wikipedia.org/wiki/NaN)
ดังนั้น ค่า NaN คือ ค่าที่ผิดพลาดทางหลักคณิตศาสตร์ ไม่ใช่ตัวเลข และค่า NaN ไม่มีค่าเท่ากับค่าใดเลย แม้แต่ค่า NaN ของตัวมันเอง
Read More
ค่า NaN คือ ค่าอะไร ?
จากโจทย์ทางคณิตศาสตร์
ตัวอย่างเช่น 1/0 ทางหลักคณิตศาสตร์ไม่มีนิยาม (อ่านรายละเอียดได้จาก - วิกิพีเดีย https://en.wikipedia.org/wiki/Division_by_zero) แต่ในทางการเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์มีการกำหนดให้ค่านั้นเป็นค่า NaN ตามมาตรฐาน IEEE 754 (https://en.wikipedia.org/wiki/NaN)
ดังนั้น ค่า NaN คือ ค่าที่ผิดพลาดทางหลักคณิตศาสตร์ ไม่ใช่ตัวเลข และค่า NaN ไม่มีค่าเท่ากับค่าใดเลย แม้แต่ค่า NaN ของตัวมันเอง
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)